สาขาต่างๆ

โรคหัวใจแต่กำเนิดในผู้ใหญ่ (Adult Congenital Heart Disease)

  • จากข้อมูลในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่มีโรคหัวใจแต่กำเนิดประมาณหนึ่งล้านคน

  • ในผู้ใหญ่ที่มีโรคหัวใจแต่กำเนิดจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ

  • แผนกโรคหัวใจฯ มีคลินิกเฉพาะทางให้บริการตรวจวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจแต่กำเนิด

  • แผนกโรคหัวใจฯ ได้มีการวางแผนการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจแต่กำเนิดร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

  • โรคหัวใจแต่กำเนิดที่พบบ่อย ได้แก่

    • Atrial septal defects (ASD)

    • Bicuspid aortic valve

    • Coarctation of aorta

    • Ebstien's anomaly

    • Single ventricle defects & Fontan procedure

    • Tetralogy of Fallot

    • Ventricular septal defects

โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia and Electrophysiology)

  • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีทั้งหัวใจเต้นเร็วเกินไป เต้นช้าเกินไป หรือเต้นผิดจังหวะแบบไม่สม่ำเสมอ

  • โรคหัวใจสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation) เป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะที่พบได้บ่อยที่สุด

  • การบริการหัตถการการตรวจและรักษาผู้ป่วยห้วใจเต้นผิดจังหวะ ได้แก่

    • Cardioversion

    • Diagnostic EP studies

    • Catheter ablation of arrhythmias

    • Loop recorder implantations and monitoring

    • Pacemaker and ICD implants and follow-up

    • Resynchronizaton therapy for heart failure

    • Tilt-table test ting

คาร์ดิแอคอิมเมจจิง (Cardiac Imanging)

  • การตรวจด้วย imaging เพื่อให้การวินิจฉัยโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

  • ให้บริการที่สำคัญคือ

    • Coronary Calcium Score (CCS)

    • Coronary Computed Tomography Angiography (CCTA)

    • Cardiac MRI

คลืนเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiography)

  • เป็นการตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ เพื่อการวินิจฉัยโรคหัวใจอย่างมีประสิทธิภาพ

  • การตรวจร่วมกับทีมหัตถการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อรักษาโรคด้วยการสวนหัวจ โดยเฉพาะโรคความผิดปกติโครงสร้างหัวใจต่าง ๆ

  • ให้บริการ

    • Transthoracic echocardiography

    • Transesophageal echocardiography

    • 3D echocardiography

    • Stress echocardiography with dobutamine and treadmill

โรคหัวใจล้มเหลว (Heart failure and Cardiac Transplantation)

  • ให้การตรวจวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลวด้วยทีมสหวิชาชีพ เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต การนอนโรงพยาบาล และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วย

  • ดูแลผู้ป่วยทั้งการปรับเปลี่ยนแนวทางการดูแลตัวเอง การใช้ยา รวมถึงการใช้เครื่องมือที่ทันสมัยต่าง ๆ

  • ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายเปลี่ยนหัวใจ

หัตถการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด (Interventional Cardiology)

  • ให้การตรวจและรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยการสวนหัวใจ

  • ให้การรักษาโรคลิ้นหัวใจด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น transcatheter aortic valve replacement (TAVR), Percutaneous Balloon Mitral Valvuloplasty (PBMV)